ขับเคลื่อนโดย Blogger.
RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 เวลาเรียน 13.00 เวลาเลิกเรียน 16.40น.

ความรู้ที่ได้รับ


การประเมิน
   ประเมินตนเอง
 วันนี้กิจกรรมที่สนุกมากรู้สึกตื่นเต้นกับงานที่อาจารย์ให้ทำ
   ประเมินเพื่อน
เพื่อนทุกคนตั้งใจทำงาน
   ประเมินอาจารย์
   อาจารย์อธิบายงานได้เข้าใจง่าย



  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

โทรทัศน์ครู(วิชาวิทยาศาสตร์)


โทรทัศน์ครู

การสอนวิทยาศาสตร์ของ คุณครูอังศนา  มาทอง  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนอัสัมชัญสมุทรปราการ
การทดลองการละลายน้ำ
                ครูเริ่มจากการเชื่อมโยงสิ่งแวดล้อมเข้ากับการทดลองการละลายน้ำ โดยการนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้เด็กมีส่วนร่วมในการทดลอง และ บันทึกการทดลอง และ ให้เด็กออกมาพูดสรุปควมรู้ที่ได้
การทดลองกรด-เบส
                ครูให้เด็กนำสารที่ต้องการหากรด-เบสมาทำการทดลองตามความต้องการของเด็ก และ ให้เด็กทำการทดลองเองเด็กจะรู้ว่าสารที่นำมามีสถานะเป็นกรด หรือ เบส และ ครูแนะนำให้เด็กรู้แก้ปัญหา
ประโยชน์ที่รับ
                1.ได้ทราบว่านักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอนจะทำให้นักเรียนได้รับความรู้มากกว่าการสอนแต่ในหนังสือ
2.ได้รับคามรู้เกี่ยวกับการปรับใช้เทคนิคการสอนให้เหมาะสมกับเนื้อหาโดยยึดความรู้ที่นักเรียนจะได้รับเป็นสำคัญ
                3.ได้ทราบว่านักเรียนมีความสนใจในการทดลองวิทยาศาสตร์มาก
อยากแนะนำคุณครูทุกคนว่าการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ยังวิธีการสอน หรือ เทคนิคการสอนมากมาย เช่น การใช้สื่อ                  การสอนจากหนังสือ การทดลอง แต่อย่างไรก็ตามการที่จะสอนโดยวิธีการใดนั้นขึ้นอยู่กับเนื้อนั้นๆ และ ต้องให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนการการสอนด้วย

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

สรุปวิจัย


 ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องสีจากธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
The Result of Providing Natural Color Learning Activity on Young Children

1.ชื่อผู้วิจัย
สายทิพย์ ศรีแก้วทุม ชื่อโครงการวิจัย การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปสร้างสรรค์โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2.ต้องการพัฒนาอะไร
ความสามารถการ คิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัย ที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ โดยใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กับกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์แบบปรกติ
3. ความสัมพันธ์ทางวิทยาศาสตร์
การจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์
4.ขั้นตอนการวิจัย
กลุ่มตัวอย่าง
นักเรียนชั้นอนุบาลที่ 2 อายุ 5-6 ปี โรงเรียนบ้านทรัพย์สมบูรณ์ จากการสุ่มอย่างง่าย ห้องเรียนมา 1 ห้อง จากห้องเรียน 2 ห้อง แล้วจับฉลากรายชื่อนักเรียนเข้าสู่กลุ่มทดลองและกลุ่ม ควบคุมอย่างละ 15 คน รวมจำนวนทั้งสิ้น 30 คน
เครื่องมือที่ใช้
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) แผนการสอนกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ 2 แบบ คือแบบปรกติและแบบใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ 2) แบบทดสอบความสามารถ การคิดอย่างมีเหตุผล แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ การจำแนก การจัดประเภท การอุปมาอุปมัย อนุกรม และสรุปความ จำนวนข้อทั้งหมด 50 ข้อ มีค่าความยากอยู่ระหว่าง .20-.80 และค่าอำนาจจำแนก ตั้งแต่ .20-.90 ค่าความเชื่อมั่นคำนวณจากสูตร KR-20 เท่ากับ .91
ช่วงเวลาการทดลอง
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2541 เป็นเวลา 8 สัปดาห์
5.ผลที่ได้

เด็กปฐมวัยที่ได้รับ การจัดกิจกรรมศิลป สร้างสรรค์โดยใช้ กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์มีคะแนน เฉลี่ยความสามารถการ คิดอย่างมีเหตุผลสูงกว่า เด็กปฐมวัยที่ได้รับการ จัดกิจกรรมศิลป สร้างสรรค์แบบปรกติ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บทความ

 แนวทางสอนคิด เติม "วิทย์" ให้เด็กอนุบาล


 ดร. วรนาท รักสกุลไทย นักการศึกษาปฐมวัย ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษมพิทยา (ฝ่ายอนุบาล) กล่าวว่า "เราคงทราบดีกันอยู่แล้วว่าวิทยาศาสตร์มี ความสำคัญเพียงใด แต่สำหรับเด็กอนุบาล แนวทางการสอนต่างหากที่จะทำให้เด็กสนใจ สิ่งสำคัญที่สุดคือครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก

                   เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก รวมถึงต้องอย่าลืมเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้"       
                    ทั้ง นี้ การส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในด้านวิทยาศาสตร์นั้น อาจไม่จำเป็นต้องแยกออกมาสอนเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ และอาจ
                   ไม่ต้องกล่าวคำว่าวิทยาศาสตร์เมื่อให้เด็กทำกิจกรรมเลยด้วยซ้ำ เพียงแต่ครูปฐมวัยควรจะตระหนักรู้ว่ากิจกรรมที่จัดให้กับเด็กในแต่ละช่วง เวลานั้น
                   เป็นการส่งเสริมทักษะและแนวคิดทางวิทยาศาสตร์อะไรให้กับเด็กๆ และควรจะจัดกิจกรรมอย่างไรเพื่อจะสามารถตอบสนองและต่อยอดธรรมชาติการเรียน
                   รู้ของเด็กได้อย่างเป็นระบบ
นอกจากนี้ ดร.เทพกัญญา ยังได้ให้แนวทางในการ "สืบเสาะความรู้ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก" อันประกอบแนวทางปฏิบัติ 5 ข้อดังนี้     
         1. ตั้งคำถามที่เด็กสามารถตรวจสอบได้ด้วยตัวเอง เช่น คำถามเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว หรือโลกของเรา
         2. ออกไปหาคำตอบด้วยกัน เนื่องจากคำถามในระดับเด็กอนุบาลมักจะเปิดกว้าง ดังนั้นการค้นหาคำตอบอาจมีครูคอยช่วยจัดประสบการณ์
ให้เด็กตามที่เขาตั้งขึ้น
     
        3. เมื่อขั้นสองสำเร็จ เด็กจะเอาสิ่งที่เขาค้นพบมาไปตอบคำถามของเขาเอง ในขั้นนี้คุณครูอาจช่วยเสริมในแง่ของความครบถ้วนสมบูรณ์หรือในด้านของเหตุและผล
     
       4. นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อน ๆ
      5. การนำสิ่งที่เด็กค้นพบคำตอบนั้นไปเชื่อมโยงกับคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์

 สำหรับข้อ 5 นั้น ดร.เทพกัญญากล่าวว่า ในระดับเด็กอนุบาลอาจยังไม่สามารถก้าวไปถึงจุดนั้นได้ อาจต้องเป็นเด็กชั้นประถมศึกษาขึ้นไป
     แต่คุณครูก็ไม่ควรละเลย หากมีเด็กอนุบาลบางคนเข้าใจ คุณครูก็อาจช่วยให้เขาสามารถอธิบายได้แบบวิทยาศาสตร์ แต่ถ้าไม่ถึงก็ไม่จำเป็นต้องเคี่ยวเข็ญเด็ก ๆ
    แต่อย่างใดไม่ เพียงแต่คุณครูและโรงเรียนที่จะเป็นผู้ส่งเสริมทักษะด้านวิทยาศาสตร์ให้กับ เด็ก ๆ แต่พ่อและแม่เองนั้นก็มีบทบาทมากเช่นกัน แนวทางดี ๆ ข้างต้น
    อาจเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยให้เด็ก ๆ และครอบครัวในยุคต่อไปเข้าใจ และรักใน "วิทยาศาสตร์" ได้มากขึ้นก็เป็นได้ค่ะ

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 14

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ที่ 21 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 เวลาเรียน 13.00 เวลาเลิกเรียน 16.40น.


ความรู้ที่ได้รับ

อาจารย์ให้เพื่อนออกมาส่งสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์ ตั้งเกณฑ์แบ่งประเภท วางไว้เป็นกองที่โต๊ะ

1.มุมเสียง
2.มุมลม
3.มุมแรงโน้มถ่วง
4.มุมลม


เพื่อนออกมานำเสนองานวิจัย
1.ผลการจัดประสบการณ์โดยเน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นอนุบาล 2
2.การพัฒนาชุดการสอนวิทยาศาตร์น่ารู้ชั้นอนุบาล 2 
3.ความสามารถในการคิดการจัดกิจกรรมกระบวนการวิทยาศาตร์นอกห้องเรียน
4. การทำน้ำดื่มสมุนไพร

ทำวาฟเฟิล



การประเมิน
   ประเมินตนเอง
   วันนี้มีหลายกิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำล้วงมีประโยคทุกกิจกรรม
   ประเมินเพื่อน
 มีคุยบ้างขนาดอาจารย์อธิบาย
   ประเมินอาจารย์
    อาจารย์สอนทำวาฟเฟิลที่สามรถทำเองได้

  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จินตนา สุขสำราญ
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน 2557
เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เวลาเข้าสอน 13.00 เวลาเรียน 13.00 เวลาเลิกเรียน 16.40น.


ความรู้ที่ได้

เพื่อนๆออกมาสอนแผนของตัวเองต่อจากอาทิตย์ที่แล้ว


กลุ่มที่ 1เพื่อนออกมาสอนเรื่องแปรงสีฟัน
ชนิดของปรงสีฟัน(วันที่1)
คำคล้องจอง
แปรงสีฟันมีหลายชนิด    แต่ละชนิดมีดีต่างกัน
แปรงสีฟันไฟฟ้านั้น         รวดเร็วพลันใช้ได้อย่างดี
แปรงสีฟันผู้ใหญ่ก็มี        สะอาดดีเพราะเราแปรงฟัน

กลุ่มที่2เรื่องผีเสื้อ  butterfly (ลักษณะ)
กลุ่มที่ 3 กลุ่ม ของ ฉัน 

เรื่องกล้วย


กล้วยคือผลไม้  ใครๆก็ชอบกินกล้วย
ค้างคาว ช้างลิงกินกล้วย  กินกล้วยมีวิตามิ

ทำทาโกะยากิ ไข่

อาจารย์ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการทำ Cooking ต้องจัดโต๊ะให้เป็นหมวดหมู่
แผนกที่1 หั่นผัก แครอท ต้นหอม  ปูอัด
แผนกที่ 2 เครื่องปรุง
แผนกที่ 3



การประเมิน
   ประเมินตนเอง
   สนุกสนานเพราะได้ออกไปสอนหน่วยกล้วย
   ประเมินเพื่อน
  เพื่อนตั้งใจทำงานมาก
   ประเมินอาจารย์
    อาจารย์สอนทำทาโกยากิด้วยวิธีที่ง่ายๆ






  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 12

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี  7 พฤศจิกายน .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 

ความรู้ที่ได้รับ

เพื่อนๆออกมาสอนแผนของกลุ่มตัวเอง


กลุ่มFrog กบ
กลุ่มCabbage กะหล่ำปลี
กลุ่มส้ม Orange   น้ำส้มคั้น
กลุ่มดอกมะลิ่Jasmine  ทำCooking ดอกมะลิชุบแป้งทอด
กลุ่มไก่ Chicken
กลุ่มปลาFish

การนำไปประยุกต์ใช้
    ได้นำความรู้ที่ได้ปฏิบัติในวันนี้ไปใช้ประโยคในอนาคต
การประเมิน
   ประเมินตนเอง
     มีความตั้งใจในการเรียนแต่อาจทำออกมาไม่ได้ดีหนัก
   ประเมินเพื่อน
     ตั้งใจเรียนและให้ความร่วมมือกับอาจารย์ดี
   ประเมินอาจารย์
     มีความน่ารักในการสอน สอนได้อย่างสนุกสนาน 


  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 24 ตุลาคม .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 


 ความรู้ที่ได้รับ

เพื่อนๆออกมานำเสนอของเล่นวิทยาศาสตร์ของตัวเอง






หลักเกณฑ์การเลือกเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อเด็กหรือผู้เรียนดังนี้

                1. การเลือกสื่อควรพิจารณาให้มีความสัมพันธ์กับเรื่องที่ต้องการให้เด็กๆได้เรียนรู้ เพื่อให้ตรงตาม                                   วัตถุประสงค์ที่ได้กำหนดไว้ และสอดคล้องกับเนื้อหาอย่างครบถ้วน
                2. การนำสื่อไปใช้ในกิจกรรมหรือประสบการณ์ให้เด็ก ต้องคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นก่อนนำสื่อไปใช้                    ให้เกิดประสิทธิผล ควรมีการทดลองใช้และติดตามผลการใช้สื่อนั้นๆ ก่อน
                3. สื่อควรสร้างเสริมความคิดและให้แนวทางในการแก้ปัญหาได้หลายๆ ด้าน
                4.สื่อต้องเหมาะสมกับวัย เพศ ระดับความรู้ ประสบการณ์เดิมของผู้รับ
                5. สื่อนั้นๆ ผู้รับควรรับรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้าให้มากที่สุด
            6. ควรนำศิลปวัฒนธรรม ประเพณี หรือทรัพยากรต่างๆ ในท้องถิ่น มาใช้เป็นสื่อให้มากที่สุด


การประเมิน
   ประเมินตนเอง
  ตื่นตากับสื่อที่เพื่อนนำเสนอเพราะบางสื่อก็ไม่เคยเห็นที่ไหนมาก่อน
   ประเมินเพื่อน
    เพื่อนๆแต่ละคนนำสื่อมาเสนออย่างหน้าสนใจ
   ประเมินอาจารย์
  อาจารย์ติชมสื่อและให้คำแนะนำสื่อ


  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 18 ตุลาคม .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 

(เรียนชดเชย)
ความรู้ที่ได้รับ

วันนี้อาจารย์ทบทวนเรื่องการเขียนแผน การที่จะสอนเด็กนั้นครูควรดูบริบทและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวเด็กบุคคลที่ใกล้ชิดเด็กธรรมชาติรอบตัวเด็กการเขียนแผนจะต้องสอดคล้องกันทั้งจุดประสงค์ สาระที่ควรเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ และกิจกรรม


การประเมิน
   ประเมินตนเอง
   เข้าใจการเขียนแผนที่ถูกต้องมากขึ้นและได้ลงมือทำและคิดกับเพื่อนๆ
   ประเมินเพื่อน
     เพื่อนตั้งใจจดงานที่อาจารย์ได้พูดสรุป
   ประเมินอาจารย์
    อาจารย์อธิบายเรื่องการเขียนแผนอย่างถูกต้องและเข้าใจง่าย



  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 17 ตุลาคม .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 




เกมส์การศึกษา 

กิจกรรมเสริมประสบการณ์

ประสบการณ์สำคัญ

การนำเข้าสู่บทเรียน

การประเมิน       การสังเกต + การฟังการตอบคำถาม ( เครื่องมือที่ใช้คือแบบสังเกต )

การบูรณาการ


การประเมิน
   ประเมินตนเอง
   มีความรู้ในการเขียนแผนที่ถูกต้องมากขึ้น
   ประเมินเพื่อน
     เพื่อนตั้งใจทำงานที่อาจารย์สั่งอย่างเต็มที่
   ประเมินอาจารย์
     อาจารย์ให้คำแนะนำที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย







  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 10 ตุลาคม .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 


ไม่มีเรียนการสอนมีการสอบกลางภาคเรียนที่ 1 ประจำปี 2557






  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7

Science Experiences Management for Eerly Childhood

วิชาการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน/เดือน/ปี 3 ตุลาคม .. 2557  เวลาเรียน 13.00
เวลาเข้าสอน 13.00    เวลาเข้าเรียน 12.50  เวลาออกจากห้องเรียน 16.00 

ความรู้ที่ได้รับ

อาจารย์ให้ประดิษฐ์สื่อโดยใช้แกนกระดาษทิชชู่



อุปกรณ์ 
1. แกนกระดาษทิชชู่
2.กระดาษสี
3. เชือก
4. สี

วิธีทำ
1.ตัดแกนทิชชูออกเป็น 2 ส่วน
2.นำแกนทิชชูมาเจาะรูด้านข้าง 2 รู ด้วยที่เจาะกระดาษ
3.นำไหมพรม ความยาว 1 ช่วงแขนมาร้อยใส่ลงไปในรูของแกนทิชชูทั้ง 2 รู
4.นำกระดาษมาแบ่งออก 1 แผ่น แบ่งได้ 8 ส่วน แล้ววาดเป็นวงกลม 1 วง
5.วาดสัตว์ที่ชอบลงไป 1 ภาพในวงกลม ระบายสีให้สวยงาม แล้วตัดให้เป็นวงกลม
6.นำภาพที่วาดติดลงไปในแกนทิชชู ด้านขวาง

วิธีการเล่น
นำไปคล้องคอแล้วใช้มือทั้งสองข้าง ชักขึ้น-ลง เพื่อให้รูปสัตว์เคลื่อนไหวขึ้น-ลงได้
จากการสังเกตพบว่า เมื่อชักเชือกขึ้น-ลงๆโดยที่ไม่ก้างไหมพรมออก ภาพสัตว์ก็จะไม่ขึ้นสุดไปถึงคอ แต่เมื่อเราก้างไหมพรมออกแล้วชักขึ้น-ลง ปรากฎว่า ภาพสัตว์สามารถเลื่อนขึ้น-ลงได้

นำเสนอบทความ
เรื่องที่ 1 การพัฒนาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
เรื่องที่ 2 สอนลูกเรื่องแสงและเงา 
เรื่องที่ 3 การสอนเรื่องแรงโน้มถ่วง 
เรื่องที่ 4 การสอนลูกเรื่องไฟฉาย 

การประเมิน
   ประเมินตนเอง
วันนี้ได้ทำสื่อที่หน้าสนใจมีการเอาวัสดุเหลือใช้มาประดิษฐ์เป็นของเล่นอย่างสนุกสนาน
   ประเมินเพื่อน
ได้ทำของเล่นกันอย่างสนุกสนาน
   ประเมินอาจารย์
     อาจารย์มีเทคนิคการสอนที่หลากหลาย 



  • Digg
  • Del.icio.us
  • StumbleUpon
  • Reddit
  • RSS